เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
หน้าแรก
แนะนำเทศบาล
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติความเป็นมา
ตราสัญลักษณ์
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์
อำนาจหน้าที่
แผนที่เทศบาล
โครงสร้างองค์กร แขวง และบริการต่างๆ
ข้อมูลสภาพปัญหาแหล่งน้ำ
บุคลากร
โครงสร้างการบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
สมาชิกสภาเทศบาล
ข้าราชการประจำ
หน่วยงานที่อยู่นอกสำนักงานฯ
ฝ่ายการเจ้าหน้าที่
อัตรากำลัง
หน่วยงานภายใน
โครงสร้างองค์กร
สำนักการคลัง
สำนักการช่าง
สำนักการสาธารณสุขฯ
สำนักการศึกษา
สำนักปลัดเทศบาล
กองวิชาการและแผนงาน
กองสวัสดิการสังคม
สถานธนานุบาล
แขวงนครพิงค์
แขวงศรีวิชัย
แขวงกาวิละ
แขวงเม็งราย
เอกสาร/รายงาน
แผนพัฒนาท้องถิ่น
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
รายงานการติดตามประเมินผล
รายงาน/เอกสารดาวน์โหลดอื่นๆ
สถิติรายรับรายจ่าย
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
งบแสดงฐานะทางการเงินการคลัง
รายงานสถานะการเงินการคลัง
รายงานอื่นๆ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
VDO กิจกรรม
ถนนคนเดินเชียงใหม่
ประวัติความเป็นมา
แผนที่ถนนคนเดิน
ข้อมูลลต่างๆของถนนคนเดิน
ปฏิทินกิจกรรม
ประกาศต่างๆ
ประกาศราคากลาง
ราคากลางของเดิม(จากเว็บไซต์เก่า)
สำนักการคลัง
สำนักการสาธารณสุขฯ
สำนักการศึกษา
สำนักปลัดเทศบาล
กองวิชาการและแผนงาน
กองสวัสดิการสังคม
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
สถานธนานุบาล
แขวงนครพิงค์
แขวงศรีวิชัย
แขวงกาวิละ
แขวงเม็งราย
โรงพยาบาลเทศบาลนครเชียงใหม่
สำนักการช่าง
ข่าวประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์(e-bidding)
ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์(e-bidding)
ผด.๒-แผนการจัดหาพัสดุประจำปี
ข่าวประกาศสรุปจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน(สขร.)
ผด.๖-รายงานแผนการปฏิบัติงานจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศกำหนดวัน เวลา การตรวจรับงานจ้าง
ผด.๓-รายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดหาพัสดุ
ผด.๕-แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศเผยแพร่สัญญา/ข้อตกลง
ประกาศหลักประกันสัญญา
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา
สำนักศึกษา
สำนักช่าง
สำนักปลัด
สำนักการคลัง
กองสวัสดิการสังคม
สำนักสาธารณสุข
กองวิชาการและแผนงาน
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
แขวงกาวิละ
แขวงศรีวิชัย
แขวงเม็งราย
สถานธนานุบาล
แขวงนครพิงค์
โรงพยาบาลเทศบาลนครเชียงใหม่
ประกาศสมัครงาน
การเจ้าหน้าที่ รับสมัครงาน บุคลากร
มาตรการเพื่อป้องกันการทุจริต
ข้อมูลบริการ
ติดต่อเรา
ฝ่ายการเจ้าหน้าที่
ประกาศ/คำสั่ง (สำหรับบุคลากรเทศบาลฯ)
ประกาศ กทจ./กท.
มติ กทจ. เชียงใหม่
พระราชบัญญัติ
ระเบียบฯ
คู่มือ , แนวทางปฏิบัติ
ประชาสัมพันธ์ (สำหรับบุคลากรเทศบาลฯ)
แบบฟอร์ม Download (สำหรับบุคลากรเทศบาลฯ)
ประกาศความเสี่ยงด้านทุจริต
รวบรวมผลงานที่ผ่านมา
ฐานข้อมูลตลาด
ข้อมูลตลาดในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่
แผนที่ตลาดในเขตเทศบาลฯ
เชียงใหม่ร่วมใจสู้ภัยหมอกควัน
แผนที่ Safety Zone
ข้อมูลข่าวสารด้านหมอกควัน
หนังสือสั่งการ/กฎหมาย/ระเบียบ
ท่องเที่ยวเชียงใหม่
คู่มือประชาชน
E-Service
แบบฟอร์ม Download (สำหรับประชาชน)
ฐานข้อมูลผู้สูงอายุเทศบาลนครเชียงใหม่
คลังความรู้
องค์ความรู้(KM)
คลังความรู้ของเทศบาลนครเชียงใหม่
เทศบัญญัติ
บทความทางด้านกฏหมาย
ทำเนียบครูภูมิปัญญาท้องถิ่น
แหล่งเรียนรู้
ขณะนี้คุณอยู่ที่
>
หน้าแรก
>
โครงสร้างองค์กร
รูปแบบการปกครองของเทศบาลนครเชียงใหม่แบ่งออกได้ ดังนี้
๑.
นายกเทศมนตรี
นายกเทศมนตรี ๑ คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทำหน้าที่เป็นฝ่ายบริหารเท่านั้น โดยการกำหนดนโยบาย ควบคุม และรับผิดชอบการบริหารงานของเทศบาลและสามารถแต่งตั้งรอง นายกเทศมนตรีช่วยบริหารงานได้โดย ในส่วน ของเทศบาลนครเชียงใหม่จะมีรองนายกเทศมนตรี จำนวน ๔ คน และนายกเทศมนตรีจะมีวาระการทำงาน ๔ ปี
๒.
สมาชิกสภาเทศบาล
เทศบาลนครเชียงใหม่ มีสมาชิกสภาเทศบาลนคร จำนวนทั้งสิ้น ๒๔ คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต จำนวน ๔ เขตเลือกตั้ง (แบ่งตามแขวง ได้แก่ แขวงนครพิงค์ แขวงศรีวิชัย แขวงเม็งราย และแขวงกาวิละ) เขตละ ๖ คน และมีวาระการทำงาน ๔ ปี เช่นเดียวกับนายกเทศมนตรี
โครงสร้างส่วนการบริหารงานของเทศบาลนครเชียงใหม่ แบ่งเป็น ๑๐ ส่วน ดังนี้
สำนักปลัดเทศบาล
สำนักการคลัง
สำนักการช่าง
สำนักการสาธารณสุขฯ
สำนักการศึกษา
กองวิชาการฯ
กองสวัสดิการฯ
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
สถานธนานุบาล
แขวง
๑.
สำนักปลัดเทศบาล
รับผิดชอบด้านเอกสาร สารบรรณ งานสภาเทศบาล งานควบคุมเทศพาณิชย์ งานพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว งานทะเบียนราษฎร การเลือกตั้ง งานด้านบุคลากร งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย งานรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง รวมถึงงานด้านรัฐพิธีและกิจการสภา
ประกอบด้วย
๑.๑ ฝ่ายอำนวยการ
- งานควบคุมเทศพาณิชย์
- งานพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
๑.๒ ฝ่ายปกครอง
- งานทะเบียนราษฎร
- งานบัตรประจำตัวประชาชน
- งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- งานรักษาความสงบเรียบร้อยและมั่นคง
๑.๓ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
- งานธุรการ
- งานรัฐพิธีและกิจการสภา
๑.๔ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่
- งานบริหารบุคคลครูฯ
- งานสรรหาและบรรจุฯ
- งานพัฒนาบุคลากร
- งานอัตรากำลัง
๒
สำนักการคลัง
รับผิดชอบงานด้านการเงินและบัญชีงานพัสดุและทรัพย์สิน งานสถิติการคลัง งานพัฒนารายได้ งานแผนที่ภาษีและงานด้านผลประโยชน์ต่างๆ แบ่งส่วนความรับผิดชอบออกเป็น
- ส่วนบริหารงานคลัง
- ส่วนพัฒนารายได้
สำนักการคลัง
ประกอบด้วย
- งานธุรการ
๒.๑ ส่วนบริหารงานคลัง
๒.๑.๑ ฝ่ายการเงินและบัญชี
- งานการเงินและบัญชี
- งานเงินเดือนบำเหน็จบำนาญและสวัสดิการ
- งานสถิติการคลัง
๒.๑.๒ กลุ่มงานพัสดุและทรัพย์สิน
- งานการจัดซื้อและการจ้าง
- งานบำรุงรักษาพัสดุและทรัพย์สิน
- งานทะเบียนพัสดุและทรัพย์สิน
- งานนิเทศการพัสดุ
๒.๒ ส่วนพัฒนารายได้
๒.๒.๑ ฝ่ายพัฒนารายได้
- งานพัฒนารายได้
- งานเร่งรัดรายได้
- งานจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สิน
๒.๒.๒ ฝ่ายแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
- งานแผนที่ภาษี
- งานทะเบียนทรัพย์สิน
- งานบริการข้อมูล
๓
สำนักการช่าง
รับผิดชอบงานด้านการก่อสร้างปรับปรุงสาธารณูปโภค งานผังเมืองและงานควบคุมอาคารและ การจัดการสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งส่วนราชการรับผิดชอบออกเป็น
- ส่วนควบคุมอาคารและผังเมือง
- ส่วนออกแบบและก่อสร้าง
- ส่วนการโยธา
- ส่วนช่างสุขาภิบาล
สำนักการช่าง
ประกอบด้วย
- งานธุรการ
- งานการเงินและบัญชี
๓.๑ กลุ่มงานออกแบบและควบคุมโครงการลักษณะพิเศษ
- งานออกแบบโครงการ
- งานควบคุมโครงการ
๓.๒ กลุ่มงานขนส่ง
- งานธุรการ
- งานระบบขนส่งสาธารณะ
- งานสถานีขนส่งแห่งที่ ๑ (ช้างเผือก)
- งานสถานีขนส่งแห่งที่ ๒ (อาเขต)
๓.๓ ส่วนควบคุมอาคารและผังเมือง
- งานธุรการ
๓.๓.๑ ฝ่ายควบคุมอาคาร
- งานควบคุมการก่อสร้างอาคาร
- งานขออนุญาตอาคาร
๓.๓.๒ ฝ่ายผังเมือง
- งานจัดทำผังเมือง
- งานควบคุมผังเมือง
๓.๔ ส่วนออกแบบและก่อสร้าง
- งานธุรการ
๓.๔.๑ ฝ่ายสำรวจออกแบบ
- งานสำรวจ
- งานออกแบบสถาปัตยกรรมและภูมิทัศน์
- งานออกแบบวิศวกรรม
๓.๔.๒ ฝ่ายควบคุมการก่อสร้าง
- งานควบคุมการก่อสร้างด้านวิศวกรรม
- งานควบคุมการก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรมและภูมิทัศน์
- งานทดสอบกำลังและคุณภาพวัสดุ
๓.๕ ส่วนการโยธา
- งานธุรการ
๓.๕.๑ ฝ่ายสาธารณูปโภค
- งานบำรุงรักษาทางและสะพาน
- งานสถานที่และไฟฟ้าสาธารณะ
๓.๕.๒ ฝ่ายสวนสาธารณะ
- งานบำรุงรักษาสวนสาธารณะ
- งานเรือนเพาะชำและขยายพันธุ์
- งานตกแต่งเมืองและพื้นที่สาธารณะ
๓.๕.๓ ฝ่ายวิศวกรรมจราจร
- งานวิเคราะห์และวางระบบจราจร
- งานสัญญาณไฟและเครื่องหมายจราจร
๓.๖ ส่วนช่างสุขาภิบาล
- งานธุรการ
๓.๖.๑ ฝ่ายจัดการสภาพแวดล้อมด้านวัสดุใช้แล้ว
- งานกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
- งานสถานีขนถ่ายและโรงงานเผาขยะติดเชื้อ
๓.๖.๒ ฝ่ายจัดการคุณภาพน้ำ
- งานควบคุมและตรวจสอบการบำบัดน้ำเสีย
- งานวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
- งานบำรุงรักษาและซ่อมแซมระบบระบายน้ำ
๓.๖.๓ ฝ่ายเครื่องจักรกล
- งานซ่อมบำรุงยานพาหนะและเครื่องทุ่นแรง
- งานซ่อมบำรุงโรงงานและเครื่องจักรหนัก
๓.๖.๔ กลุ่มงานจัดการคุณภาพอากาศและเสียง
- งานควบคุมคุณภาพอากาศและเสียง
- งานส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
๔
สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
รับผิดชอบงานด้านสาธารณสุขต่างๆ งานด้านการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ งานส่งเสริมสุขภาพ งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม งานรักษาความสะอาด งานให้บริการด้านการรักษาพยาบาลประชาชนทั่วไป
สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย
- งานวิชาการและแผนงานสาธารณสุข
๔.๑ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
- งานธุรการ
- งานการเงินและบัญชี
๔.๒ ส่วนส่งเสริมสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
๔.๒.๑ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
- งานสร้างเสริมสุขภาพ
- งานสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
- งานสุขภาพจิต
๔.๒.๒ กลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรค
- งานป้องกันควบคุมโรคติดต่อทั่วไป
- งานป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยแมลงและสัตว์พาหะ
- งานโรคไม่ติดต่อ
๔.๓ ส่วนบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
๔.๓.๑ กลุ่มงานสนับสนุนสาธารณสุขชุมชน
- งานบริการสิ่งแวดล้อม
- งานสัตวแพทย์
- งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
๔.๓.๒ กลุ่มงานสุขาภิบาล
- งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมชุมชน
- งานคุ้มครองผู้บริโภค
- งานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
๔.๔ โรงพยาบาล
- งานธุรการ
- งานการเงินและบัญชี
๔.๔.๑ กลุ่มงานบริการการแพทย์
- งานเวชปฏิบัติทั่วไป
- งานพยาธิวิทยาและรังสีวิทยา
- งานเวชกรรมฟื้นฟูและแพทย์ทางเลือก
- งานแพทย์แผนไทย
๔.๔.๒ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
- งานคลีนิกทันตกรรม
- งานส่งเสริมและป้องกันทันตสาธารณสุข
๔.๔.๓ กลุ่มงานเภสัชสาธารณสุข
- งานเภสัชกรรมบริการและคลีนิก
- งานเภสัชกรรมชุมชน
๔.๔.๔ กลุ่มงานการพยาบาล
- งานผู้ป่วยนอก
- งานผู้ป่วยในและห้องคลอด
- งานผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
- งานหน่วยจ่ายกลางและโภชนาการ
๔.๔.๕ กลุ่มงานสุขภาพชุมชน
- งานศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลเทศบาล
- งานศูนย์สุขภาพชุมชนศรีวิชัย
- งานประกันสุขภาพ
๕
สำนักการศึกษา
รับผิดชอบงานด้านการจัดการศึกษาในเขตเทศบาล รวมถึงการส่งเสริมประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมของท้องถิ่น
สำนักการศึกษา
ประกอบด้วย
๕.๑ ฝ่ายแผนงานและโครงการ
- งานแผนและโครงการ
- งานระบบสารสนเทศ
- งานงบประมาณ
- งานธุรการ
๕.๒ หน่วยศึกษานิเทศก์
- งานบริหารวิชาการ
- งานนิเทศการศึกษา
๕.๓ ส่วนบริหารการศึกษา
๕.๓.๑ ฝ่ายกิจการโรงเรียน
- งานการศึกษาปฐมวัย
- งานโรงเรียน
- งานกิจการนักเรียน
๕.๓.๒ ฝ่ายวิชาการ
- งานส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานหลักสูตร
- งานพัฒนาสื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
๕.๔ ส่วนส่งเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
๕.๔.๑ ฝ่ายการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย
- งานการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย
- งานฝึกและส่งเสริมอาชีพ
- งานห้องสมุด พิพิธภัณฑ์และเครือข่ายทางการศึกษา
๕.๔.๒ ฝ่ายกิจกรรมเด็กและเยาวชน
- งานกิจกรรมเด็กและเยาวชน
- งานกีฬาและนันทนาการ
๕.๔.๓ ฝ่ายส่งเสริมศาสนาศิลปและวัฒนธรรม
- งานกิจการศาสนา
- งานส่งเสริมประเพณีศิลปวัฒนธรรม
๕.๕ ฝ่ายการเงินและบัญชี
- งานงบประมาณ
- งานการเงินและบัญชี
๖
กองวิชาการและแผนงาน
รับผิดชอบงานด้านวิชาการ การวางแผนพัฒนาเทศบาล งานด้านสถิติข้อมูลสารสนเทศ งานงบประมาณ งานประชาสัมพันธ์ งานวิจัยและประเมินผลและงานด้านกฎหมาย
กองวิชาการและแผนงาน
ประกอบด้วย
- งานธุรการ
- งานจัดทำงบประมาณ
- งานวิเทศสัมพันธ์
๖.๑ ฝ่ายบริการและเผยแพร่วิชาการ
- งานบริการและเผยแพร่วิชาการ
- งานประชาสัมพันธ์
๖.๒ ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ
- งานแผนพัฒนาเทศบาล
- งานนโยบายและโครงการ
- งานวิจัยประเมินผลและข่้อมูลสารสนเทศ
๖.๓ กลุ่มงานนิติการ
- งานสอบสวนและการร้องทุกข์หรืออุทธรณ์
- งานนิติกรรมสัญญา การตราเทศบัญญัติ การปฏิบัติตามกฎหมาย
- งานดำเนินคดีและการบังคับคดี
๖.๔ กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาเมือง
- งานบริหารทั่วไป
- งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
- งานหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่
- งานอุทยานการเรียนรู้เชียงใหม่
๗
กองสวัสดิการสังคม
รับผิดชอบงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนในเขต เทศบาล งานด้านสังคมสงเคราะห์และ งานสวัสดิการเด็กและเยาวชน
กองสวัสดิการสังคม
ประกอบด้วย
- ฝ่ายบริหารงานสวัสดิการสังคม
- งานธุรการ
- งานสังคมสงเคราะห์
- งานสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน
- งานพัฒนาชุมชน
๘
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
รับผิดชอบงานด้านการควบคุมตรวจสอบเกี่ยวกับการเงินและงานอื่นๆ โดยขึ้นตรงต่อปลัดเทศบาล
๙
สถานธนานุบาล
รับผิดชอบงานด้านการรับจำนำทรัพย์สินจากประชาชน เพื่อป้องกันการกู้หนี้นอกระบบ ซึ่งเทศบาลนครเชียงใหม่ มีสถานธนานุบาล ทั้งสิ้น ๕ แห่ง
๙.๑.สถานธนานุบาลเทศบาลนครเชียงใหม่ ๑ (ท่าแพ)
๙.๒.สถานธนานุบาลเทศบาลนครเชียงใหม่ ๒ (ช้างเผือก)
๙.๓.สถานธนานุบาลเทศบาลนครเชียงใหม่ ๓ (ประตูเชียงใหม่)
๙.๔.สถานธนานุบาลเทศบาลนครเชียงใหม่ ๔
๙.๕.สถานธนานุบาลเทศบาลนครเชียงใหม่ ๕
ทรัพย์สินที่รับจำนำได้
ได้แก่ ทองคำ / นาก / เพชร-พลอย / เงิน / นาฬิกา / เครื่องใช้ไฟฟ้า
ทรัพย์สินที่รับจำนำไม่ได้
ได้แก่ - ทรัพย์สินที่มีทะเบียน เช่น อาวุธปืน / รถจักรยานยนต์ / รถยนต์
- ทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ เช่น โฉนดที่ดิน
อัตราดอกเบี้ย
เงินต้นไม่เกิน ๕๐๐ บาท ร้อยละ ๐.๗๕ ต่อเดือน
เงินต้นไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท ร้อยละ ๑.๐๐ ต่อเดือน
เงินต้นไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท แบ่งเป็น ๒ ช่วง
คือ ๒,๐๐๐ บาท ร้อยละ ๒.๐๐ ต่อเดือน
ส่วนที่เกิน ๒,๐๐๐ บาท คิดร้อยละ ๑.๒๕ ต่อเดือน
การจำหน่ายทรัพย์หลุดจำนำ
จำหน่ายในวันเสาร์ที่ ๒ ของทุกเดือน
วันหยุด
เวลาเปิดทำการ
วันจันทร์-ศุกร์ (เวลา ๐๘.๐๐ น.- ๑๖.๐๐ น.)
หยุด วันเสาร์-อาทิตย์
วันสำคัญทางพุทธศาสนา และหยุดตามประกาศของสำนักงาน จ.ส.ท
หากว่าท่านต้องการใช้บริการ เชิญปรึกษาได้ที่สถานธนานุบาลเทศบาลนครเชียงใหม่ (ในเวลาราชการ)
๑๐
แขวง ๔ แขวง
ได้แก่ แขวงนครพิงค์ แขวงกาวิละ แขวงศรีวิชัย แขวงเม็งราย โดยมีสำนักงานแขวง ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อกระจาย การให้บริการไปถึงประชาชนอย่างทั่วถึงในทุกพื้นที่ในเขตเทศบาล
- งานธุรการ
- งานทะเบียน
- งานคลัง
- งานช่าง
- งานสุขาภิบาล
- งานรักษาความสะอาด
- งานสวัสดิการสังคม
- งานนิติการ (แขวงศรีวิชัย)
Share this post!
×
Modal body text goes here.
ล็อกอินสำหรับเจ้าหน้าที่
×
Username
Password
เข้าสู่ระบบ